สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 สถาบันมี บุคลากรรวมทั้งสิ้น 77 คน ประกอบด้วย บุคลากรสายวิชาการตามข้อตกลงความร่วมมือในการยืมตัว นักวิจัยจาก CRI มาปฏิบัติงานบางเวลาหรือประจำ ในตำแหน่งผู้บริหาร จำนวน 3 คน และอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 27 คน และบุคลากรสนับสนุนฯ จำนวน 47 คน นอกจากนี้ มีอาจารย์พิเศษชาวไทย จำนวน 61 คน และอาจารย์พิเศษชาวต่างประเทศ จำนวน 30 คน |
สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ได้จัดทำกรอบอัตรากำลังซึ่งเป็นแผนในการรับบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนเพื่อเข้ามาปฏิบัติงานในสถาบันฯ โดยในปี 2565 สถาบันฯ ได้เปิดรับสมัครบุคลากร และมีผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้ามาปฏิบัติในสถาบันฯ ดังนี้ |
ตำแหน่ง | แผนการรับ | จำนวนผู้สมัคร | ผู้มีสิทธิ์สอบ | ผู้ผ่านการคัดเลือก |
---|---|---|---|---|
สายวิชาการ | ||||
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ | 5 อัตรา | 2 คน | 1 คน | 0 คน |
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์เคมี | 2 อัตรา | 21 คน | 0 คน | 0 คน |
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม | 6 อัตรา | 7 คน | 0 คน | 0 คน |
ตำแหน่งนักวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ | 2 อัตรา | 2 คน | 1 คน | 1 คน |
ตำแหน่งนักวิจัยประจำสาขาวิทยาศาสตร์เคมี | 2 อัตรา | 3 คน | 3 คน | 2 คน |
ตำแหน่งนักวิจัยประจำสาขาพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม | 2 อัตรา | 5 คน | 3 คน | 1 คน |
สายสนับสนุน | ||||
ตำแหน่งพนักงานปฏิบัติการ | 1 อัตรา | 19 คน | 6 คน | 2 คน |
ตำแหน่งนิติกร | 1 อัตรา | 43 คน | 19 คน | 2 คน |
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่โสตทัศนูปกรณ์ | 1 อัตรา | 11 คน | 7 คน | 3 คน |
สถาบันฯ ได้กำหนดแนวทางการแก้ปัญหากำลังคนที่ขาดแคลน โดยในบางตำแหน่งได้จัดจ้างหน่วยงานภายนอกเข้ามาดำเนินการ เช่น งานทำความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย งานบำรุงรักษาสวน งานป้องกันและกำจัดปลวก หนู แมลง เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้ลดการสรรหาบุคลากร และเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรเป็นอย่างดี |
สถาบันฯ เห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรของสถาบันฯ ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน ให้มีโอกาสได้เพิ่มพูนทักษะ การเสริมสร้างขีดความสามารถในทำงาน สร้างแรงจูงใจ เพื่อนำความรู้ความสามารถที่ได้รับมาพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานของตนเอง โดยมีจิตใจมุ่งมั่นในการเปลี่ยนแปลงตนเองไปในทางที่ดีขึ้น จนนำไปสู่ความสำเร็จแห่งการบรรลุเป้าหมายขององค์กร ในปี 2565 สถาบันฯ ได้กำหนดสนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาศักยภาพในการทำงานในด้านต่างๆ ดังนี้ |
โครงการที่จัด | จัดอบรมภายในสถาบัน | จัดอบรมภายนอก |
---|---|---|
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน | ||
สาขา ABS | 2 ครั้ง | 2 ครั้ง |
สาขา ET | 2 ครั้ง | 3 ครั้ง |
สาขา CS | 2 ครั้ง | 10 ครั้ง |
โครงการที่จัด | จำนวนผลงาน |
---|---|
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ(ผลงานวิจัยคณาจารย์ 3 สาขา) | |
สาขา ABS | 17 ผลงาน |
สาขา ET | 4 ผลงาน |
สาขา CS | 44 ผลงาน |
โครงการที่จัด | ผู้ได้รับตำแหน่งวิชาการ |
---|---|
โครงการสนับสนุนส่งเสริมให้คณาจารย์ขอตำแหน่งวิชาการ | |
สาขาวิทยาศาสตร์เคมี | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรชากร เอื้อติวงศ์ |
โครงการที่จัด | จำนวนครั้งที่เข้าอบรมภายในหรือภายนอกสถาบันฯ |
---|---|
โครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน | |
งานบริหารทั่วไป | 19 ครั้ง |
งานส่งเสริมวิชาการ | 10 ครั้ง |
ศูนย์การเรียนรู้ | 5 ครั้ง |
งานสนับสนุนสาขา | 2 ครั้ง |
โครงการที่จัด | จำนวนคนที่เข้าร่วมกิจกรรม |
---|---|
โครงการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม | |
กิจกรรมไหว้ครู | 50 คน |
กิจกรรมถวายผ้าป่าสามัคคีออนไลน์ | 55 คน |
กิจกรรมวันสงกรานต์ | 100 คน |
กิจกรรมถวายเทียนพรรษา | 70 คน |
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ถือเป็นเครื่องมือสำคัญขององค์กรที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จ การประเมินนี้เป็นวิธีการวัดผลทางการปฎิบัติงานของบุคลากรทั้งในเรื่องความสามารถในการทำงานไปจนถึงศักยภาพที่ช่วยให้องค์กรประสบความสำเร็จ สถาบันฯ มีหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติตามประกาศราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับผู้ปฏิบัติงานในราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประจำปี 2565 สถาบันฯ มีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ |
บทบาทของผู้บริหารที่จะต้องทำ เพื่อให้บุคลากรที่ดีมีคุณภาพได้อยู่ทำคุณประโยชน์ให้แก่องค์กรได้นานเท่าที่จะนานได้ เพราะหากไม่รักษาคนดีมีความสามารถเอาไว้ องค์การย่อมจะพัฒนาให้เจริญรุ่งเรืองเติบโตไปได้ยาก การธำรงรักษาบุคลากรเป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาและผู้บริหาร มิใช่เป็นงานของฝ่ายบุคคลโดยลำพัง การธำรงรักษาบุคลากรจะช่วยให้เกิดการเพิ่มผลผลิตได้ในที่สุด ดังนั้น สถาบันฯ จึงส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของบุคคลให้สูงยิ่งขึ้น เพื่อให้บุคลากรอยู่กับองค์การอย่างมีคุณค่าและมีแผนพัฒนาความก้าวหน้าในงานอาชีพของผู้ซึ่งมีศักยภาพสูง บุคลากรก็จะมีความรักองค์กรและรักงานที่ทำ ทุ่มเทกำลังกายและกำลังใจทำงานเต็มความสามารถ ผลิตผลงานที่ดีออกมา ฝ่ายบริหารก็จะต้องดูแลให้ความเป็นธรรมและยอมรับในผลงานของผู้ปฏิบัติงานงานดี ซึ่งสถาบันฯ มีวิธีธำรงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ ดังนี้ |
สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 สถาบันมี บุคลากรรวมทั้งสิ้น 76 คน ประกอบด้วย บุคลากรสายวิชาการตามข้อตกลงความร่วมมือในการยืมตัว นักวิจัยจาก CRI มาปฏิบัติงานบางเวลาหรือประจำ ในตำแหน่งผู้บริหาร จำนวน 3 คน และอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 25 คน และบุคลากรสนับสนุนฯ จำนวน 48 คน นอกจากนี้ มีอาจารย์พิเศษชาวไทย จำนวน 43 คน และอาจารย์พิเศษชาวต่างประเทศ จำนวน 18 คน |
สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ได้จัดทำกรอบอัตรากำลังซึ่งเป็นแผนในการรับบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนเพื่อเข้ามาปฏิบัติงานในสถาบันฯ โดยในปี 2564 สถาบันฯ ได้เปิดรับสมัครบุคลากร และมีผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้ามาปฏิบัติในสถาบันฯ ดังนี้ |
ตำแหน่ง | แผนการรับ | จำนวนผู้สมัคร | ผู้มีสิทธิ์สอบ | ผู้ผ่านการคัดเลือก |
---|---|---|---|---|
สายวิชาการ | ||||
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประยุกต์ | 6 อัตรา | 14 คน | 3 คน | 1 คน |
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาวิทยาศาสตร์เคมี | 2 อัตรา | 12 คน | 0 คน | 0 คน |
ตำแหน่งอาจารย์ประจำสาขาพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม | 6 อัตรา | 3 คน | 0 คน | 0 คน |
สายสนับสนุน | ||||
ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ | 1 อัตรา | 16 คน | 7 คน | 2 คน |
ตำแหน่งพนักงานขับรถ | 2 อัตรา | 5 คน | 1 คน | 2 คน |
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารทั่วไป(ประสานงานวิจัย) | 1 อัตรา | 33 คน | 10 คน | 2 คน |
ตำแหน่งพนักงานปฏิบัติการ | 1 อัตรา | 18 คน | 8 คน | 2 คน |
สถาบันฯ ได้กำหนดแนวทางการแก้ปัญหากำลังคนที่ขาดแคลน โดยในบางตำแหน่งได้จัดจ้างหน่วยงานภายนอกเข้ามาดำเนินการ เช่น งานทำความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย งานบำรุงรักษาสวน งานป้องกันและกำจัดปลวก หนู แมลง เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้ลดการสรรหาบุคลากร และเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรเป็นอย่างดี |
สถาบันฯ เห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรของสถาบันฯ ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน ให้มีโอกาสได้เพิ่มพูนทักษะ การเสริมสร้างขีดความสามารถในทำงาน สร้างแรงจูงใจ เพื่อนำความรู้ความสามารถที่ได้รับมาพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานของตนเอง โดยมีจิตใจมุ่งมั่นในการเปลี่ยนแปลงตนเองไปในทางที่ดีขึ้น จนนำไปสู่ความสำเร็จแห่งการบรรลุเป้าหมายขององค์กร ในปี 2564 สถาบันฯ ได้กำหนดสนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาศักยภาพในการทำงานในด้านต่างๆ ดังนี้ |
โครงการที่จัด | จัดอบรมภายในสถาบัน | จัดอบรมภายนอก |
---|---|---|
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน | ||
สาขา ABS | 2 ครั้ง | 3 ครั้ง |
สาขา ET | 2 ครั้ง | 2 ครั้ง |
สาขา CS | 3 ครั้ง | 8 ครั้ง |
โครงการที่จัด | จำนวนผลงาน |
---|---|
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ(ผลงานวิจัยคณาจารย์ 3 สาขา) | |
สาขา ABS | 20 ผลงาน |
สาขา ET | 14 ผลงาน |
สาขา CS | 30 ผลงาน |
โครงการที่จัด | ผู้ได้รับตำแหน่งวิชาการ |
---|---|
โครงการสนับสนุนส่งเสริมให้คณาจารย์ขอตำแหน่งวิชาการ | |
สาขาวิทยาศาสตร์เคมี | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สถาปนวัฒน์ สิทธิหาญ |
โครงการที่จัด | จำนวนครั้งที่เข้าอบรมภายในหรือภายนอกสถาบันฯ |
---|---|
โครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน | |
งานบริหารทั่วไป | 48 ครั้ง |
งานส่งเสริมวิชาการ | 40 ครั้ง |
ศูนย์การเรียนรู้ | 11 ครั้ง |
งานสนับสนุนสาขา | 10 ครั้ง |
โครงการที่จัด | จำนวนคนที่เข้าร่วมกิจกรรม |
---|---|
โครงการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม | |
กิจกรรมการลงนามถวายพระพรในวโรกาสต่างๆ | 30 คน |
กิจกรรมCGI รวมพลังสร้างความสามัคคี | 55 คน |
กิจกรรมวันสงกรานต์ | 80 คน |
กิจกรรมถวายเทียนพรรษา | 80 คน |
กิจกรรมลอยกระทง | 114 คน |
กิจกรรมสัปดาห์สามัคคี | 40 คน |
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ถือเป็นเครื่องมือสำคัญขององค์กรที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จ การประเมินนี้เป็นวิธีการวัดผลทางการปฎิบัติงานของบุคลากรทั้งในเรื่องความสามารถในการทำงานไปจนถึงศักยภาพที่ช่วยให้องค์กรประสบความสำเร็จ สถาบันฯ มีหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติตามประกาศราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับผู้ปฏิบัติงานในราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประจำปี 2564 สถาบันฯ มีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ |
บทบาทของผู้บริหารที่จะต้องทำ เพื่อให้บุคลากรที่ดีมีคุณภาพได้อยู่ทำคุณประโยชน์ให้แก่องค์กรได้นานเท่าที่จะนานได้ เพราะหากไม่รักษาคนดีมีความสามารถเอาไว้ องค์การย่อมจะพัฒนาให้เจริญรุ่งเรืองเติบโตไปได้ยาก การธำรงรักษาบุคลากรเป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาและผู้บริหาร มิใช่เป็นงานของฝ่ายบุคคลโดยลำพัง การธำรงรักษาบุคลากรจะช่วยให้เกิดการเพิ่มผลผลิตได้ในที่สุด ดังนั้น สถาบันฯ จึงส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของบุคคลให้สูงยิ่งขึ้น เพื่อให้บุคลากรอยู่กับองค์การอย่างมีคุณค่าและมีแผนพัฒนาความก้าวหน้าในงานอาชีพของผู้ซึ่งมีศักยภาพสูง บุคลากรก็จะมีความรักองค์กรและรักงานที่ทำ ทุ่มเทกำลังกายและกำลังใจทำงานเต็มความสามารถ ผลิตผลงานที่ดีออกมา ฝ่ายบริหารก็จะต้องดูแลให้ความเป็นธรรมและยอมรับในผลงานของผู้ปฏิบัติงานงานดี ซึ่งสถาบันฯ มีวิธีธำรงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ ดังนี้ |
สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 สถาบันมี บุคลากรรวมทั้งสิ้น 76 คน ประกอบด้วย บุคลากรสายวิชาการตามข้อตกลงความร่วมมือในการยืมตัว นักวิจัยจาก CRI มาปฏิบัติงานบางเวลาหรือประจำ ในตำแหน่งผู้บริหาร จำนวน 3 คน และอาจารย์ประจำหลักสูตร จำนวน 28 คน และบุคลากรสนับสนุนฯ จำนวน 51 คน นอกจากนี้ มีอาจารย์พิเศษชาวไทย จำนวน 43 คน และอาจารย์พิเศษชาวต่างประเทศ จำนวน 18 คน |
สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์ ได้จัดทำกรอบอัตรากำลังซึ่งเป็นแผนในการรับบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนเพื่อเข้ามาปฏิบัติงานในสถาบันฯ โดยใป 2563 สถาบันฯ ได้เปิดรับสมัครบุคลากร และมีผู้ผ่านการคัดเลือกเพื่อเข้ามาปฏิบัติในสถาบันฯ ดังนี้ |
ตำแหน่ง | แผนการรับ | จำนวนผู้สมัคร | ผู้มีสิทธิ์สอบ | ผู้ผ่านการคัดเลือก |
---|---|---|---|---|
สายสนับสนุน | ||||
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป(สังกัดศูนย์วิจัยฯ) | 1 อัตรา | 29 คน | 13 คน | 2 คน |
ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ | 1 อัตรา | 1 คน | 1 คน | 1 คน |
ตำแหน่งนักวิชาการศึกษา | 1 อัตรา | 24 คน | 14 คน | 3 คน |
ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน | 1 อัตรา | 12 คน | 2 คน | 0 คน |
ตำแหน่งนิติกร | 1 อัตรา | 36 คน | 8 คน | 2 คน |
ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน | 1 อัตรา | 28 คน | 7 คน | 3 คน |
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป(สังกันงานบริหารทั่วไป) | 1 อัตรา | 29 คน | 7 คน | 2 คน |
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป(สังกัดศูนย์วิจัยฯ) | 1 อัตรา | 33 คน | 12 คน | 1 คน |
สถาบันฯ ได้กำหนดแนวทางการแก้ปัญหากำลังคนที่ขาดแคลน โดยในบางตำแหน่งได้จัดจ้างหน่วยงานภายนอกเข้ามาดำเนินการ เช่น งานทำความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย งานบำรุงรักษาสวน งานป้องกันและกำจัดปลวก หนู แมลง เป็นต้น ซึ่งส่งผลให้ลดการสรรหาบุคลากร และเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนบุคลากรเป็นอย่างดี |
สถาบันฯ เห็นความสำคัญของการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรของสถาบันฯ ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน ให้มีโอกาสได้เพิ่มพูนทักษะ การเสริมสร้างขีดความสามารถในทำงาน สร้างแรงจูงใจ เพื่อนำความรู้ความสามารถที่ได้รับมาพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานของตนเอง โดยมีจิตใจมุ่งมั่นในการเปลี่ยนแปลงตนเองไปในทางที่ดีขึ้น จนนำไปสู่ความสำเร็จแห่งการบรรลุเป้าหมายขององค์กร ในปี 2562 สถาบันฯ ได้กำหนดสนับสนุนส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาศักยภาพในการทำงานในด้านต่างๆ ดังนี้ |
โครงการที่จัด | จัดอบรมภายในสถาบัน | จัดอบรมภายนอก |
---|---|---|
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน | ||
สาขา ABS | 3 ครั้ง | 2 ครั้ง |
สาขา ET | 4 ครั้ง | 8 ครั้ง |
สาขา CS | 11 ครั้ง | 6 ครั้ง |
โครงการที่จัด | จำนวนผลงาน |
---|---|
โครงการพัฒนาบุคลากรสายวิชาการเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ(ผลงานวิจัยคณาจารย์ 3 สาขา) | |
สาขา ABS | 16 ผลงาน |
สาขา ET | 1 ผลงาน |
สาขา CS | 9 ผลงาน |
โครงการที่จัด | ผู้ได้รับตำแหน่งวิชาการ |
---|---|
โครงการสนับสนุนส่งเสริมให้คณาจารย์ขอตำแหน่งวิชาการ | |
สาขาวิทยาศาสตร์เคมี | รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท กิตตะคุปต์ |
โครงการที่จัด | จำนวนครั้งที่เข้าอบรมภายในหรือภายนอกสถาบันฯ |
---|---|
โครงการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนเพื่อพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงาน | |
งานบริหารทั่วไป | 29 ครั้ง |
งานส่งเสริมวิชาการ | 22 ครั้ง |
ศูนย์การเรียนรู้ | 20 ครั้ง |
งานสนับสนุนสาขา | 11 ครั้ง |
ศูนย์วิจัยพัฒนาฯ | 4 ครั้ง |
โครงการที่จัด | จำนวนคนที่เข้าร่วมกิจกรรม |
---|---|
โครงการพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม | |
กิจกรรมวันมาฆบูชา | 94 คน |
กิจกรรมวันวิสาขบูชา | 70 คน |
กิจกรรมวันสงกรานต์ | 80 คน |
กิจกรรมถวายเทียนพรรษา | 70 คน |
กิจกรรมลอยกระทง | 200 คน |
กิจกรรมไหว้ครู | 80 คน |
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ถือเป็นเครื่องมือสำคัญขององค์กรที่ช่วยชี้วัดความสำเร็จ การประเมินนี้เป็นวิธีการวัดผลทางการปฎิบัติงานของบุคลากรทั้งในเรื่องความสามารถในการทำงานไปจนถึงศักยภาพที่ช่วยให้องค์กรประสบความสำเร็จ สถาบันฯ มีหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติตามประกาศราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ เรื่องการประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับผู้ปฏิบัติงานในราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประจำปี 2562 สถาบันฯ มีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ |
บทบาทของผู้บริหารที่จะต้องทำ เพื่อให้บุคลากรที่ดีมีคุณภาพได้อยู่ทำคุณประโยชน์ให้แก่องค์กรได้นานเท่าที่จะนานได้ เพราะหากไม่รักษาคนดีมีความสามารถเอาไว้ องค์การย่อมจะพัฒนาให้เจริญรุ่งเรืองเติบโตไปได้ยาก การธำรงรักษาบุคลากรเป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาและผู้บริหาร มิใช่เป็นงานของฝ่ายบุคคลโดยลำพัง การธำรงรักษาบุคลากรจะช่วยให้เกิดการเพิ่มผลผลิตได้ในที่สุด ดังนั้น สถาบันฯ จึงส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของบุคคลให้สูงยิ่งขึ้น เพื่อให้บุคลากรอยู่กับองค์การอย่างมีคุณค่าและมีแผนพัฒนาความก้าวหน้าในงานอาชีพของผู้ซึ่งมีศักยภาพสูง บุคลากรก็จะมีความรักองค์การและรักงานที่ทำ ทุ่มเทกำลังกายและกำลังใจทำงานเต็มความสามารถ ผลิตผลงานที่ดีออกมา ฝ่ายบริหารก็จะต้องดูแลให้ความเป็นธรรมและยอมรับในผลงานของผู้ปฏิบัติงานงานดี ซึ่งสถาบันฯ มีวิธีธำรงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ ดังนี้ |